“อธิบดีณัฐพล” เดินหน้าไม่หยุด ลงพื้นที่เมืองลิงฝึก "อาชีพดีพร้อม" เสริมแกร่งอัพรายได้ให้ชุมชนโคกตูม
จ.ลพบุรี 25 กันยายน 2565 - ดร.ณัฐพล รังสิตพล อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม พร้อมด้วย นางสาวณัฏฐิญา เนตยสุภา รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม นายวุฒิชัย ประชาพร ผู้อํานวยการกองพัฒนาขีดความสามารถธุรกิจอุตสาหกรรม นายสิทธิรงณ์ เร่งเงียบ ผู้อำนวยการศูนย์ดีพร้อมเซ็นเตอร์ 3 (DIPROM CENTER 3) นายวิชญพรรณ พลอยทับทิม อุตสาหกรรมจังหวัดลพบุรี และคณะเจ้าหน้าที่ดีพร้อม (DIPROM) โดยมี นายธงชัย อิ่มอรชร กํานันตําบลโคกตูม ให้การต้อนรับ ณ หอประชุมโรงเรียนโคกตูมวิทยา อำเภอเมืองลพบุรี การลงพื้นที่ครั้งนี้ เป็นการตรวจเยี่ยมการดำเนินงานของโครงการอาชีพดีพร้อมและให้กำลังใจเจ้าหน้าที่ดีพร้อม พบปะพูดคุยและรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนในตำบลโคกตูม จ.ลพบุรี และพื้นที่ใกล้เคียง โดยมีประชาชนสนใจเข้าร่วม จำนวน 200 ราย ซึ่งดีพร้อมได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ในส่วนของการพัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการผลิตที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ดังกล่าว โดยแบ่งออกเป็น 2 หมวด คือ 1. ลดรายจ่าย ได้แก่ การทำน้ำยาล้างจานและการทำสบู่เหลว และ 2. เพิ่มรายได้ ได้แก่ การสกรีนกระเป๋าผ้าและการทำของชำร่วย โครงการอาชีพดีพร้อม เป็นการพัฒนาทักษะอาชีพเสริม เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชนในพื้นที่ต่าง ๆ ผ่านรูปแบบการพัฒนา 4 หลักสูตรหลัก ได้แก่ 1) พัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการผลิต 2) พัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการบริการ 3) พัฒนาด้านผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ และ 4) พัฒนาต่อยอดทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบธุรกิจ นับเป็นอีกหนึ่งแนวทางที่จะช่วยลดค่าครองชีพให้กับครอบครัว รวมถึงสามารถสร้างรายได้และอาชีพเสริม ตลอดจนเพิ่มความรู้และทักษะการประกอบการธุรกิจให้กับชุมชน อันจะสามารถช่วยยกระดับศักยภาพชุมชน เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ และอาชีพในชุมชน รวมทั้งส่งผลให้เศรษฐกิจฐานรากเติบโตและมีความเข้มแข็งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ทั้งนี้ โครงการอาชีพดีพร้อม ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งบกลาง กรอบวงเงิน 1,249 ล้านบาท เพื่อดำเนินการเพิ่มทักษะและรายได้ให้ชุมชนกว่า 400 แห่ง ครอบคลุมทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ซึ่งตั้งเป้าพัฒนาประชาชนกว่า 700,000 ราย และคาดว่าจะเกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจไม่น้อยกว่า 12,000 ล้านบาท ### PRDIPROM (กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม) รายงาน/ภาพข่าว
26 ก.ย. 2565
“อธิบดีณัฐพล” นำทีมดีพร้อมเยือนสระบุรี ลุยฝึกทักษะสร้างรายได้ชาวบ้านหน้าพระลาน ผ่าน "อาชีพดีพร้อม"
จ.สระบุรี 25 กันยายน 2565 - ดร.ณัฐพล รังสิตพล อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม พร้อมด้วย นางสาวณัฏฐิญา เนตยสุภา รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม นายสมภพ สมิตะสิริ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสระบุรี นางคนึงนิจ ทยายุทธ ผู้อำนวยการศูนย์ดีพร้อมเซ็นเตอร์ 6 (DIPROM CENTER 6) นายนพดล ชีวะอิสะกุล อุตสาหกรรมจังหวัดสระบุรี นางวรรณภา ชินชูศักดิ์ ประธานหอการค้าจังหวัดสระบุรี โดยมี นางสมฤดี จันทร์สุวรรณ นายกเทศมนตรีตำบลหน้าพระลาน และคณะ ให้การต้อนรับ ณ อาคารป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เทศบาลหน้าพระลาน อำเภอเฉลิมพระเกียรติ การลงพื้นที่ครั้งนี้ เป็นการตรวจเยี่ยมการดำเนินงานของโครงการอาชีพดีพร้อมและให้กำลังใจเจ้าหน้าที่ดีพร้อม พบปะพูดคุยและรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนในตำบลหน้าพระลาน จ.สระบุรี และพื้นที่ใกล้เคียง โดยมีประชาชนสนใจเข้าร่วม จำนวน 200 ราย ซึ่งดีพร้อมได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ในส่วนของการพัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการผลิตที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ดังกล่าว โดยแบ่งออกเป็น 2 หมวด คือ 1. ลดรายจ่าย ได้แก่ การทำน้ำยาล้างจานและการทำสบู่เหลว และ 2. เพิ่มรายได้ ได้แก่ การสกรีนกระเป๋าผ้าและการทำของชำร่วย โครงการอาชีพดีพร้อม เป็นการพัฒนาทักษะอาชีพเสริม เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชนในพื้นที่ต่าง ๆ ผ่านรูปแบบการพัฒนา 4 หลักสูตรหลัก ได้แก่ 1) พัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการผลิต 2) พัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการบริการ 3) พัฒนาด้านผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ และ 4) พัฒนาต่อยอดทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบธุรกิจ นับเป็นอีกหนึ่งแนวทางที่จะช่วยลดค่าครองชีพให้กับครอบครัว รวมถึงสามารถสร้างรายได้และอาชีพเสริม ตลอดจนเพิ่มความรู้และทักษะการประกอบการธุรกิจให้กับชุมชน อันจะสามารถช่วยยกระดับศักยภาพชุมชน เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ และอาชีพในชุมชน รวมทั้งส่งผลให้เศรษฐกิจฐานรากเติบโตและมีความเข้มแข็งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ทั้งนี้ โครงการอาชีพดีพร้อม ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งบกลาง กรอบวงเงิน 1,249 ล้านบาท เพื่อดำเนินการเพิ่มทักษะและรายได้ให้ชุมชนกว่า 400 แห่ง ครอบคลุมทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ซึ่งตั้งเป้าพัฒนาประชาชนกว่า 700,000 ราย และคาดว่าจะเกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจไม่น้อยกว่า 12,000 ล้านบาท ### PRDIPROM (กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม) รายงาน/ภาพข่าว
26 ก.ย. 2565
“อธิบดีณัฐพล” จัดเต็มลงพื้นที่ชลบุรี หนุนชาวบ้านบึงสร้าง "อาชีพดีพร้อม"
จ.ชลบุรี 24 กันยายน 2565 - ดร.ณัฐพล รังสิตพล อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม พร้อมด้วย นางสาวณัฏฐิญา เนตยสุภา รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม นางสาวหนึ่งหทัย ธรรมพิทักษ์ ผู้อำนวยการศูนย์ดีพร้อมเซ็นเตอร์ 9 (DIPROM CENTER 9) เจ้าหน้าที่ดีพร้อม (DIPROM) นายธีรทัศน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมโรงงานอุตสาหกรรม และนายชัชพล อินทโฉม อุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี ลงพื้นที่ช่วยประชาชนเพิ่มทักษะ สร้างอาชีพดีพร้อม ภายใต้ โครงการพัฒนาอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้ชุมชนดีพร้อม หรือ อาชีพดีพร้อม โดยมี ดร.ธานี เนื่องจำนงค์ นายกเทศมนตรีตำบลหนองซ้ำซาก และคณะ ให้การต้อนรับ ณ ชั้น 3 อาคารเอนกประสงค์เทศบาลตำบลหนองซ้ำซาก อำเภอบ้านบึง การลงพื้นที่ครั้งนี้ เป็นการตรวจเยี่ยมการดำเนินงานของโครงการอาชีพดีพร้อมและให้กำลังใจเจ้าหน้าที่ดีพร้อม พบปะพูดคุยและรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนในอำเภอบ้านบึง จ.ชลบุรี และพื้นที่ใกล้เคียง โดยมีประชาชนสนใจเข้าร่วม จำนวน 200 ราย ซึ่งดีพร้อมได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ในส่วนของการพัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการผลิตที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ดังกล่าว โดยแบ่งออกเป็น 2 หมวด คือ 1. ลดรายจ่าย ได้แก่ การทำน้ำยาล้างจานและการทำสบู่เหลว และ 2. เพิ่มรายได้ ได้แก่ การสกรีนกระเป๋าผ้าและการทำของชำร่วย โครงการอาชีพดีพร้อม เป็นการพัฒนาทักษะอาชีพเสริม เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชนในพื้นที่ต่าง ๆ ผ่านรูปแบบการพัฒนา 4 หลักสูตรหลัก ได้แก่ 1) พัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการผลิต 2) พัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการบริการ 3) พัฒนาด้านผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ และ 4) พัฒนาต่อยอดทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบธุรกิจ นับเป็นอีกหนึ่งแนวทางที่จะช่วยลดค่าครองชีพให้กับครอบครัว รวมถึงสามารถสร้างรายได้และอาชีพเสริม ตลอดจนเพิ่มความรู้และทักษะการประกอบการธุรกิจให้กับชุมชน อันจะสามารถช่วยยกระดับศักยภาพชุมชน เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ และอาชีพในชุมชน รวมทั้งส่งผลให้เศรษฐกิจฐานรากเติบโตและมีความเข้มแข็งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ทั้งนี้ โครงการอาชีพดีพร้อม ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งบกลาง กรอบวงเงิน 1,249 ล้านบาท เพื่อดำเนินการเพิ่มทักษะและรายได้ให้ชุมชนกว่า 400 แห่ง ครอบคลุมทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ซึ่งตั้งเป้าพัฒนาประชาชนกว่า 700,000 ราย และคาดว่าจะเกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจไม่น้อยกว่า 12,000 ล้านบาท ### PRDIPROM (กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม) รายงาน/ภาพข่าว
26 ก.ย. 2565
“อธิบดีณัฐพล” สั่งการ "ดีพร้อม" ลุยสร้าง "อาชีพดีพร้อม" ต่อเนื่อง ลงพื้นที่ช่วยชาวบ้านท่ายาง เมืองเพชรบุรี
จ.เพชรบุรี 24 กันยายน 2565 - ดร.ณัฐพล รังสิตพล อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม พร้อมด้วย นางสาวณัฏฐิญา เนตยสุภา รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม นางสาวอัญชลีย์พร เขียวเกษม ผู้อำนวยการศูนย์ดีพร้อมเซ็นเตอร์ 8 (DIPROM CENTER 8) เจ้าหน้าที่ดีพร้อม (DIPROM) และผู้แทนจากสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเพชรบุรี ลงพื้นที่ช่วยประชาชนเพิ่มทักษะ สร้างอาชีพดีพร้อม ภายใต้ โครงการพัฒนาอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้ชุมชนดีพร้อม หรือ อาชีพดีพร้อม โดยมี นายประสูตร หอมบรรเทิง นายอำเภอท่ายาง และตัวแทนจากสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองขานาง ให้การต้อนรับ ณ อาคารเอนกประสงค์สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองขานาง อำเภอท่ายาง การลงพื้นที่ครั้งนี้ เป็นการตรวจเยี่ยมการดำเนินงานของโครงการอาชีพดีพร้อมและให้กำลังใจเจ้าหน้าที่ดีพร้อม พร้อมทั้งเดินเยี่ยมชมผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นจากสมาชิกสหกรณ์ฯ พบปะพูดคุยและรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนในอำเภอท่ายาง จ.เพชรบุรี และพื้นที่ใกล้เคียง โดยมีประชาชนสนใจเข้าร่วม จำนวน 200 ราย ซึ่งดีพร้อมได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ในส่วนของการพัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการผลิตที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ดังกล่าว โดยแบ่งออกเป็น 2 หมวด คือ 1. ลดรายจ่าย ได้แก่ การทำน้ำยาล้างจานและการทำสบู่เหลว และ 2. เพิ่มรายได้ ได้แก่ การสกรีนกระเป๋าผ้าและการทำของชำร่วย โครงการอาชีพดีพร้อม เป็นการพัฒนาทักษะอาชีพเสริม เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชนในพื้นที่ต่าง ๆ ผ่านรูปแบบการพัฒนา 4 หลักสูตรหลัก ได้แก่ 1) พัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการผลิต 2) พัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการบริการ 3) พัฒนาด้านผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ และ 4) พัฒนาต่อยอดทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบธุรกิจ นับเป็นอีกหนึ่งแนวทางที่จะช่วยลดค่าครองชีพให้กับครอบครัว รวมถึงสามารถสร้างรายได้และอาชีพเสริม ตลอดจนเพิ่มความรู้และทักษะการประกอบการธุรกิจให้กับชุมชน อันจะสามารถช่วยยกระดับศักยภาพชุมชน เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ และอาชีพในชุมชน รวมทั้งส่งผลให้เศรษฐกิจฐานรากเติบโตและมีความเข้มแข็งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ทั้งนี้ โครงการอาชีพดีพร้อม ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งบกลาง กรอบวงเงิน 1,249 ล้านบาท เพื่อดำเนินการเพิ่มทักษะและรายได้ให้ชุมชนกว่า 400 แห่ง ครอบคลุมทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ซึ่งตั้งเป้าพัฒนาประชาชนกว่า 700,000 ราย และคาดว่าจะเกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจไม่น้อยกว่า 12,000 ล้านบาท ### PRDIPROM (กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม) รายงาน/ภาพข่าว
26 ก.ย. 2565
“อธิบดีณัฐพล” คึกลงพื้นที่ บุกตำบลบางจาน เมืองเพชรบุรี สร้าง "อาชีพดีพร้อม" เพิ่มรายได้ให้ประชาชน
จ.เพชรบุรี 23 กันยายน 2565 - ดร.ณัฐพล รังสิตพล อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม พร้อมด้วย นางสาวณัฏฐิญา เนตยสุภา รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม นายสมชัย เลิศประสิทธิพันธ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี นายวรวิทย์ จิรัฐิติเจริญ ผู้อำนวยการกองส่งเสริมผู้ประกอบการและธุรกิจใหม่ นางสาวอัญชลีย์พร เขียวเกษม ผู้อำนวยการศูนย์ดีพร้อมเซ็นเตอร์ 8 (DIPROM CENTER 8) เจ้าหน้าที่ดีพร้อม (DIPROM) และผู้แทนจากสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเพชรบุรี ลงพื้นที่ช่วยประชาชนเพิ่มทักษะ สร้างอาชีพดีพร้อม ภายใต้ โครงการพัฒนาอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้ชุมชนดีพร้อม หรือ อาชีพดีพร้อม ณ องค์การบริหารส่วนตำบลบางจาน อำเภอเมืองเพชรบุรี การลงพื้นที่ครั้งนี้ เป็นการตรวจเยี่ยมการดำเนินงานของโครงการอาชีพดีพร้อมและให้กำลังใจเจ้าหน้าที่ดีพร้อม พร้อมทั้งพบปะและรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนตำบลบางจาน จ.เพชรบุรี และพื้นที่ใกล้เคียง มีประชาชนสนใจเข้าร่วม จำนวน 200 ราย ซึ่งดีพร้อมได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ในส่วนของการพัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการผลิตที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ดังกล่าว โดยแบ่งออกเป็น 2 หมวด คือ 1. ลดรายจ่าย ได้แก่ การทำน้ำยาล้างจานและการทำสบู่เหลว และ 2. เพิ่มรายได้ ได้แก่ การสกรีนกระเป๋าผ้าและการทำของชำร่วย โครงการอาชีพดีพร้อม เป็นการพัฒนาทักษะอาชีพเสริม เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชนในพื้นที่ต่าง ๆ ผ่านรูปแบบการพัฒนา 4 หลักสูตรหลัก ได้แก่ 1) พัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการผลิต 2) พัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการบริการ 3) พัฒนาด้านผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ และ 4) พัฒนาต่อยอดทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบธุรกิจ นับเป็นอีกหนึ่งแนวทางที่จะช่วยลดค่าครองชีพให้กับครอบครัว รวมถึงสามารถสร้างรายได้และอาชีพเสริม ตลอดจนเพิ่มความรู้และทักษะการประกอบการธุรกิจให้กับชุมชน อันจะสามารถช่วยยกระดับศักยภาพชุมชน เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ และอาชีพในชุมชน รวมทั้งส่งผลให้เศรษฐกิจฐานรากเติบโตและมีความเข้มแข็งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ทั้งนี้ โครงการอาชีพดีพร้อม ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งบกลาง กรอบวงเงิน 1,249 ล้านบาท เพื่อดำเนินการเพิ่มทักษะและรายได้ให้ชุมชนกว่า 400 แห่ง ครอบคลุมทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ซึ่งตั้งเป้าพัฒนาประชาชนกว่า 700,000 ราย และคาดว่าจะเกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจไม่น้อยกว่า 12,000 ล้านบาท ### PRDIPROM (กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม) รายงาน/ภาพข่าว
26 ก.ย. 2565
“อธิบดีณัฐพล” นำทีมดีพร้อมลุยพื้นที่ราชบุรีฝึก "อาชีพดีพร้อม" ช่วยชาวบ้านสร้างรายได้
จ.ราชบุรี 23 กันยายน 2565 - ดร.ณัฐพล รังสิตพล อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม พร้อมด้วย นางสาวณัฏฐิญา เนตยสุภา รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม นางสาวอัญชลีย์พร เขียวเกษม ผู้อำนวยการศูนย์ดีพร้อมเซ็นเตอร์ 8 (DIPROM CENTER 8) นายกิตติโชติ ศุภกำเนิด วิศวกรชำนาญการพิเศษ รักษาการในตำแหน่งวิศวกรเชี่ยวชาญ กองพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เจ้าหน้าที่ดีพร้อม (DIPROM) และผู้แทนจากสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดราชบุรี ลงพื้นที่ช่วยประชาชนเพิ่มทักษะ สร้างอาชีพดีพร้อม ภายใต้ โครงการพัฒนาอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้ชุมชนดีพร้อม หรือ อาชีพดีพร้อม ณ ศาลาเอนกประสงค์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกหม้อ อำเภอเมืองราชบุรี การลงพื้นที่ครั้งนี้ เป็นการตรวจเยี่ยมการดำเนินงานของโครงการอาชีพดีพร้อมและให้กำลังใจเจ้าหน้าที่ดีพร้อม พร้อมทั้งพบปะและรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนตำบลโคกหม้อและพื้นที่ใกล้เคียง มีประชาชนสนใจเข้าร่วม จำนวน 200 ราย ซึ่งดีพร้อมได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ในส่วนของการพัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการผลิตที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ดังกล่าว โดยแบ่งออกเป็น 2 หมวด คือ 1. ลดรายจ่าย ได้แก่ การทำน้ำยาล้างจานและการทำสบู่เหลว และ 2. เพิ่มรายได้ ได้แก่ การสกรีนกระเป๋าผ้าและการทำของชำร่วย โครงการอาชีพดีพร้อม เป็นการพัฒนาทักษะอาชีพเสริม เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชนในพื้นที่ต่าง ๆ ผ่านรูปแบบการพัฒนา 4 หลักสูตรหลัก ได้แก่ 1) พัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการผลิต 2) พัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการบริการ 3) พัฒนาด้านผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ และ 4) พัฒนาต่อยอดทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบธุรกิจ นับเป็นอีกหนึ่งแนวทางที่จะช่วยลดค่าครองชีพให้กับครอบครัว รวมถึงสามารถสร้างรายได้และอาชีพเสริม ตลอดจนเพิ่มความรู้และทักษะการประกอบการธุรกิจให้กับชุมชน อันจะสามารถช่วยยกระดับศักยภาพชุมชน เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ และอาชีพในชุมชน รวมทั้งส่งผลให้เศรษฐกิจฐานรากเติบโตและมีความเข้มแข็งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ทั้งนี้ โครงการอาชีพดีพร้อม ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งบกลาง กรอบวงเงิน 1,249 ล้านบาท เพื่อดำเนินการเพิ่มทักษะและรายได้ให้ชุมชนกว่า 400 แห่ง ครอบคลุมทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ซึ่งตั้งเป้าพัฒนาประชาชนกว่า 700,000 ราย และคาดว่าจะเกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจไม่น้อยกว่า 12,000 ล้านบาท ### PRDIPROM (กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม) รายงาน/ภาพข่าว
26 ก.ย. 2565
“อธิบดีณัฐพล” ร่วมงานแสดงกตเวทิตาจิตแด่ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการ กระทรวงอุตฯ ประจำปี 2565
กรุงเทพฯ 21 กันยายน 2565 - ดร.ณัฐพล รังสิตพล อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม พร้อมด้วย นายเจตนิพิฐ รอดภัย และนางสาวณัฏฐิญา เนตยสุภา รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เข้าร่วมงานแสดงกตเวทิตาจิตแด่ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการ ในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรมที่เกษียณอายุราชการประจำปี 2565 โดยมี นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ให้เกียรติเป็นประธานในงานดังกล่าว ร่วมด้วย นายธีระยุทธ วานิชชัง ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม นายกฤชนนท์ อัยยปัญญา เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม นายกอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม คณะผู้บริหาร ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่กระทรวงอุตสาหกรรมเข้าร่วม ณ ห้องประชุม 509 ชั้น 5 อาคารกรมโรงงานอุตสาหกรรม สำหรับในปีนี้ มีผู้บริหาร ข้าราชการ และพนักงานราชการในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรมเกษียณอายุราชการ รวมจำนวน 160 ท่าน โดยมีผู้เกษียณอายุราชการของดีพร้อม (DIPROM) เข้าร่วมงานในครั้งนี้ จำนวน 10 ท่านด้วยกัน ### PRDIPROM (กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม) รายงาน/ภาพข่าว
21 ก.ย. 2565
ดีพร้อม เปิดบ้านให้ศิษย์เก่าสตาร์ตอัพ 11 บริษัท ดันดีคาร์บอนไนเซชันโชว์นวัตกรรมลดใช้พลังงาน ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอน ตั้งเป้าเพิ่มรายได้ธุรกิจกว่า 100 ล้านบาท
กรุงเทพฯ 19 กันยายน 2565 - นายภาสกร ชัยรัตน์รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิดโครงการ DIPROM Playground for Decarbonization Technology ร่วมด้วย คณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ดีพร้อม ( DIPROM) กลุ่มผู้ประกอบการสตาร์ตอัพ และคณะสื่อมวลชน ณ ห้องนิทรรศการ ชั้น 1 อาคาร DIPROM Headquarter (กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม) โครงการดังกล่าว เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจ (Alumni Networking) โดยร่วมมือกับกลุ่มสตาร์ตอัพที่เคยเข้าร่วมโครงการกับดีพร้อมด้านลดการปลดปล่อยคาร์บอน (Decarbonization) จำนวน 11 บริษัท ในรูปแบบนำเสนอวิธีการและทำการทดสอบเทคโนโลยีและนวัตกรรมในสถานที่จริง เน้นด้านการประหยัดพลังงาน และการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดเป็น ยูสเคส (Used case) ซึ่งยังเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ร่วมกัน รวมถึงเชื่อมโยงเครือข่ายกับหน่วยงานภายใต้ ดีพร้อม เพื่อตอบโจทย์ในการลดการปล่อยคาร์บอน และมีเข้าใจความต้องการและระบบการทำงานของอาคารขนาดใหญ่มากขึ้นภายใต้สนามทดสอบที่เป็นของจริงโดยนำร่องที่อาคารของดีพร้อมเป็นพื้นที่ต้นแบบ และมีเงื่อนไขที่เป็นข้อจำกัด โดยแบ่งการทำงานออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1.กลุ่มบริหารจัดการพลังงาน (5 บริษัท) 2.กลุ่มบริหารจัดการขยะ (4 บริษัท) และ 3. กลุ่มบริหารจัดการน้ำและอากาศ (2 บริษัท) โดยคาดว่าเมื่อดำเนินการอย่างเต็มรูปแบบ ในระยะเวลา 6 เดือน -1 ปี จะสามารถลดการปล่อยคาร์บอนได้มากกว่า 10% คิดเป็น 56 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี และสตาร์ตอัพที่ร่วมโครงการสามารถนำโมเดลไปใช้ต่อยอดสร้างรายได้จากสินค้าและบริการที่ได้นำมาทดสอบกว่า 100 ล้านบาทต่อปี ###PRDIPROM (กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม) รายงาน/ภาพข่าว
20 ก.ย. 2565
ดีพร้อม จับมือ ภาคีเครือข่าย ร่วมหารือและรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อประมวลแนวทางโครงการ เสนอขอรับงบฯ ปี 67
กรุงเทพฯ 19 กันยายน 2565 – ดร.ณัฐพล รังสิตพล อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ให้เกียรติเป็นประธานในประชุมการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อเป็นแนวทางการจัดทำโครงการ เสนอขอรับงบประมาณ ประจำปี พ.ศ. 2567 ของดีพร้อม (DIPROM) พร้อมด้วย นายภาสกร ชัยรัตน์ นายเจตนิพิฐ รอดภัย และนางสาวณัฏฐิญา เนตยสุภา รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ผู้แทนจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน คณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ดีพร้อม (DIPROM) โดยมี นางสุชาดา โพธิ์เจริญ ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน กล่าวรายงาน ณ ห้องประชุมฟูจิ 2 โรงแรมนิกโก้ กรุงเทพ และ.ในรูปแบบออนไลน์ผ่านระบบแอปพลิเคชั่น Zoom Meeting กิจกรรมดังกล่าวจัดขึ้น เพื่อแลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนเพื่อจัดเก็บประเด็นปัญหาความต้องการในการพัฒนาด้านต่าง ๆ ตามบริบทของแต่ละพื้นที่และสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน อีกทั้งยังเป็นการร่วมกันกำหนดทิศทางการส่งเสริมพัฒนาผ่านเสียงสะท้อนปัญหาความต้องการปัจจัยสนับสนุนที่เกี่ยวข้องในด้านการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ซึ่งในที่ประชุมได้เสนอประเด็นการพัฒนาที่ต่าง ๆ อาทิ การสร้างแพลตฟอร์มออนไลน์เพื่อซื้อขายสินค้า การทำแผนส่งเสริมผู้ประกอบการในทุกระดับ การพัฒนาเครื่องจักรกลการเกษตร การพัฒนาอุตสาหกรรม S-Curve การสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนสำหรับผู้ประกอบการรายย่อย การเชื่อมโยงเครือข่ายกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายเพื่อยกระดับผู้ประกอบการ การพัฒนาสมาร์ทฟาร์มเมอร์ไปสู่เกษตรอุตสาหกรรม เป็นต้น โดยดีพร้อมจะนำข้อเสนอต่าง ๆ ไปประมวลผลเพื่อนำไปสู่การพัฒนาเป็นแนวทางการดำเนินโครงการเสนอขอรับจัดสรรงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ของดีพร้อมต่อไป ###PRDIPROM (กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม) รายงาน/ภาพข่าว
20 ก.ย. 2565
“อธิบดีณัฐพล” นำทีมดีพร้อม ลุยฝึก "อาชีพดีพร้อม" ช่วยชาวบ้านสร้างอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ไปแล้วกว่า 265,800 ครัวเรือนทั่วประเทศ
จ.ภูเก็ต 18 กันยายน 2565 - ดร.ณัฐพล รังสิตพล อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม พร้อมด้วย นางสาวณัฏฐิญา เนตยสุภา รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม คณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ดีพร้อม (DIPROM) ลงพื้นที่ช่วยประชาชนเพิ่มทักษะ สร้างอาชีพดีพร้อม ภายใต้ โครงการพัฒนาอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้ชุมชนดีพร้อม หรือ อาชีพดีพร้อม อย่างต่อเนื่องอีกกว่า 18,800 ราย 94 จุดทั่วประเทศ ครอบคลุม 32 จังหวัด โครงการอาชีพดีพร้อม เป็นการพัฒนาทักษะอาชีพเสริม เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชนในพื้นที่ต่าง ๆ ผ่านรูปแบบการพัฒนา 4 หลักสูตรหลัก ได้แก่ 1) พัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการผลิต 2) พัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการบริการ 3) พัฒนาด้านผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ และ 4) พัฒนาต่อยอดทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบธุรกิจ โดยการลงพื้นที่ครั้งนี้ ดีพร้อมได้ถ่ายทอดองค์ความรู้และเพิ่มทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการผลิตที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ แบ่งออกเป็น 2 หมวด คือ 1. ลดรายจ่าย ได้แก่ การทำน้ำยาล้างจานและการทำสบู่เหลว และ 2. เพิ่มรายได้ ได้แก่ การสกรีนกระเป๋าผ้าและการทำของชำร่วย ซึ่งเป็นอีกหนึ่งแนวทางที่จะช่วยลดค่าครองชีพให้กับครอบครัว รวมถึงสามารถสร้างรายได้และอาชีพเสริม ตลอดจนเพิ่มความรู้และทักษะการประกอบการธุรกิจให้กับชุมชน อันจะสามารถช่วยยกระดับศักยภาพชุมชน เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ และอาชีพในชุมชน รวมทั้งส่งผลให้เศรษฐกิจฐานรากเติบโตและมีความเข้มแข็งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน สำหรับในวันนี้ อธิบดีดีพร้อมและคณะ ได้ลงพื้นที่ จ.ภูเก็ต เพื่อตรวจเยี่ยมการดำเนินงานของโครงการอาชีพดีพร้อมและให้กำลังใจเจ้าหน้าที่ดีพร้อม พร้อมทั้งพบปะและรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนที่เข้าร่วมอบรม ณ ชุมชนราไวย์ บริเวณศาลาหนองหาน ซึ่งมีประชาชนผู้ที่สนใจเข้าร่วม จำนวน 200 ราย ขณะเดียวกัน ดีพร้อมยังได้เร่งเดินหน้าอย่างต่อเนื่องในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะอาชีพพื้นฐานด้านการผลิตให้กับประชาชนอีกกว่า 18,800 ราย 94 จุดทั่วประเทศ ครอบคลุม 32 จังหวัด ได้แก่ จ.เชียงราย 4 จุด เชียงใหม่ 1 จุด พะเยา 1 จุด กำแพงเพชร 10 จุด สุโขทัย 3 จุด พิจิตร 2 จุด นครสวรรค์ 8 จุด ชัยนาท 3 จุด ลพบุรี 2 จุด สระบุรี 3 จุด หนองคาย 1 จุด อุดรธานี 6 จุด นครพนม 4 จุด ศรีสะเกษ 2 จุด อำนาจเจริญ 2 จุด อุบลราชธานี 1 จุด ชัยภูมิ 3 จุด บุรีรัมย์ 1 จุด ตราด 1 จุด จันทบุรี 1 จุด ชลบุรี 2 จุด สมุทรปราการ 6 จุด กรุงเทพฯ 5 จุด สุพรรณบุรี 1 จุด กาญจนบุรี 1 จุด สมุทรสาคร 5 จุด เพชรบุรี 1 จุด ประจวบคีรีขันธ์ 1 จุด ระนอง 3 จุด นครศรีธรรมราช 6 จุด ตรัง 3 จุด และภูเก็ต 1 จุด ทั้งนี้ ดีพร้อม ได้ดำเนินการเพิ่มทักษะและสร้างอาชีพเสริมให้แก่คนในชุมชน ตั้งแต่วันที่ 20 สิงหาคม 2565 มาอย่างต่อเนื่องถึงปัจจุบันกว่า 265,800 ราย ในพื้นที่ทั้งหมด 1,329 จุดทั่วประเทศ ครอบคลุม 46 จังหวัด ทั้งนี้ โครงการอาชีพดีพร้อม ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งบกลาง กรอบวงเงิน 1,249 ล้านบาท เพื่อดำเนินการเพิ่มทักษะและรายได้ให้ชุมชนกว่า 400 แห่ง ครอบคลุมทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ซึ่งตั้งเป้าพัฒนาประชาชนกว่า 700,000 ราย และคาดว่าจะเกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจไม่น้อยกว่า 12,000 ล้านบาท ### PRDIPROM (กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม) รายงาน/ภาพข่าว ดูแผนที่ฝึกอาชีพดีพร้อมคลิก : https://www.google.com/maps/d/u/1/edit?mid=1aaUA6SiLHFu028Nu1Mxvy43uzHX5qdw&usp=sharing
19 ก.ย. 2565